ทั้งหมด
ปั้มลม
ปั้มลมขนาดเล็ก 1 หัว
ปั้มลมขนาดเล็ก 2-6 หัว
ปั้มลมแบตเอตรี่อัตโนมัติ
ปั้มลมใส่ถ่าน
ปั้มลมต่อแบตเตอรี่ DC 12V
ปั้มลมไดอะแฟรม Resun, Atman , Yamano
ปั้มน้ำ
ปั้มน้ำขนาดจิ๋ว 100 - 2400 L/Hr
ปั้มน้ำขนาดกลาง 2400 - 5000 L/Hr
ปั้มน้ำไดโว่
ปั้มน้ำขนาดใหญ่ 5000 - 30000 L/Hr
ปั้มน้ำ Flux ปั๊มน้ำประหยัดไฟ
ปั้มทำคลื่น ปั๊มเป่าตะกอนก้นตู้
ระบบกรอง
กรองนอกตู้
กรองบนตู้
กรองแขวน
กรองในตู้
ถังกรอง
ถังกรอง UV , ถังกรองแรงดัน
กรองฟองน้ำ , กล่องกรอง
หลอด UV กำจัดเชื้อโรคและน้ำเขียว
UV ชนิดหลอดแก้วจุ่มน้ำ
รางไฟ , หลอดไฟ , สปอตไลต์
รางไฟฟลูออเรสเซนส์พลาสติก
รางไฟหลอด PL
โคมไฟแบบหนีบ
รางไฟหลอด LED
วัสดุกรอง ซับเสตรต ไบโอบอล ใยกรอง
ถ่านคาร์บอน
หินพัมมิส
ไบโอบอล
ไบโอแมต, ไบโอฟิลเตอร์, พู่ดักตะกอน
ใยกรองแบบต่างๆ
สะดือเทียม , สกิมเมอร์ , หัวเจ็ต , หัวพ่นน้ำ
สะดือเทียม และสกิมเมอร์
หัวเจ็ต และหัวพ่นน้ำ
อาหารปลาทอง
Hikari
F-1 เขียว F-1 แดง
Sakura
Optimum
อาหารปลาคาร์ฟ
Aqua Master
OPTIMUM
Sakura
อาหารปลาหมอสี
XO , OceanFree
Okiko , Quick , Head Up
Hikari
Kanshou
Hai feng
อาหารเม็ดจม อาหารกุ้ง
Hikari
อาหารกุ้ง
รักษาโรคปลา
ยารักษาแผลตามตัวและเน่าเปื่อย
ยาฆ่าเห็บ หนอนสมอ และพยาธิ
น้ำยากำจัดหอย
ยารักษาโรคจุดขาว
น้ำยาปรับสภาพน้ำ ลดคลอรีน ยาสลบ
น้ำยาปรับสภาพน้ำ และลดคลอรีน
น้ำยาลดตะไคร่
อ๊อกซิเจนผง และเม็ด
ยาสลบปลา
ผลิตภัณฑ์ ตรวจวัด คุณภาพน้ำ
เกลือ
แบคทีเรีย จุลินทรีย์สลายของเสีย
แบคทีเรีย และจุลินทรีย์ชนิดน้ำ
แบคทีเรีย และจุลินทรีย์ชนิดเม็ด/ผง
หัวทราย
หัวทรายธรรมดา
หัวทรายละเอียด
หัวทรายจาน และแท่ง
Oxygen Bay , จานกระจายอากาศ
สายยาง ข้อต่อปั้มน้ำ ปั้มลม และอุปกรณ์เสริม
สายยางปั้มลม
ท่อแยกลม
ข้อต่อ และอุปกรณ์ปั้มลม
ข้อต่อ และอุปกรณ์ปั้มน้ำ
แปรงขัดตู้ อุปกรณ์ถ่ายน้ำตู้ปลา
แปรงแม่เหล็กขัดตู้ แปรงขัดตะไคร่
ที่ดูดขี้ปลา และอุปกรณ์ช่วยถ่ายน้ำ
สวิง กระชอน
สวิงด้าม PVC ตาข่ายขาว
สวิงด้าม PVC ตาข่ายอวน
อาหารปลาขนาดเล็ก
Hikari
อาหารปลาปอมปาดัวร์ Tetra
อาหาร A.D.P.
อาหารปลาหางนกยูง
อุปกรณ์ตกแต่งตู้ หิน ทราย
หินก้อนแต่งตู้ปลา
หินทรายปูพื้นตู้ปลา
ดินปลูกไม้น้ำ
ปลาสวยงาม
ปลาคาร์ฟลูกนอก
ปลาทอง
ปลาปอมปาดัวร์
ปลาฝูงขนาดเล็กเลี้ยงกับไม้น้ำ
ปลาแปลก
ฮิตเตอร์ (HEATER)
อิตเตอร์ ( HEATER )
หน้าแรก
เกี่ยวกับเรา
สินค้า
ผลงานของเรา
บทความ
ติดต่อเรา
คลิปสาระน่ารูั
การให้อาหารแต่ละวันควรให้อย่างไร
ผู้ดูแลระบบ สูงสุด
1 มิ.ย. 2564 21:00
ปลาก็ต้องคุมอาหารเหมือนกันนะ
!!
.
นอกจากเราเองที่ต้องคุมน้ำหนักกันแล้วเพื่อนๆรู้หรือไม่ว่า ปลาก็ต้องคุมอาหารเหมือนกันนะ! วันนี้แอดจะมาเล่าว่าทำไมเราถึงต้องคุมอาหารสำหรับปลาของเรากันด้วย
.
ปกติเพื่อนๆให้อาหารปลาวันละกี่มื้อกันครับ? 1 หรือ 2 หรือ 3 หรือมากกว่านี้.. เอ๋...แล้วแบบไหนถึงจะเหมาะกับปลาของเรากันแอดมีคำตอบให้ครับ
.
โดยปกตินั้นปลาแต่ละชนิดกินอาหาร แล้วก็วิธีการกินหรือเวลาการกินที่ไม่เหมือนกัน เช่น บางชนิดกินที่ละนิดๆแต่กินทั้งวัน บางชนิดกินทีเดียวจนอิ่มจะกินอีกทีก็ต่อเมื่อหิวอีกครั้ง ส่วนใหญ่เราจึงจะแนะนำให้ให้อาหารปริมาณที่พอเหมาะ ปลากินอาหารให้หมดภายใน 2-3 นาที เนื่องจากว่า ถ้านานกว่านี้อาหารที่เราให้ไปจะเกินความจำเป็นต่อตัวปลาและส่งผลทำให้น้ำเสียนั่นเองครับ ซึงปลาแต่ละชนิดก็มีอัตราการกินและจุดประสงค์ของการเลี้ยงต่างกัน ตัวอย่างเช่น
.
-
ปลาซิว หรือ กลุ่มปลาขนาดเล็ก
ควรให้วันละ 1-2 มื้อ
เพราะในปกติตามธรรมชาติปลาพวกนี้จะไม่ค่อยได้หากินเป็นเวลาหรือกินทีละน้อยๆไปเรื่อยๆทั้งวัน ขนาดเม็ดส่วนใหญ่ก็ควรจะให้เป็นแบบผง หรือมีขนาดที่เล็กกว่าปากปลา จะทำให้ปลากินได้ดี ไม่ส่งผลต่อทางเดินอาหารของปลา
.
-
ปลาทอง
ควรให้วันละ 2-3 มื้อ
โดยปกติปลาทองเป็นปลาที่คนเลี้ยงจะรู้สึกว่ามันหิวตลอดเวลาเลยก็ว่าได้ ฮ่าๆๆ แต่อันที่จริงแล้วเราควรให้อาหารอย่างน้อยวันละ 2 มื้อ และเป็นเวลา ซึ่งจะไปลดการเกิดโรคที่เกี่ยวกับถุงลมหรือทางเดินอาหารของปลา เช่น ปลาเสียการทรงตัว ท้องบวม ท้องอืด และจะช่วยให้ปลากินดี โตไว กว่าเดิมอีกด้วย
.
-
ปลาคาร์ป
ควรให้วันละ 2-7 มื้อ
เพื่อนๆอาจจะสงสัยว่าทำไม ปลาคาร์ป ควรให้อาหารถึง 7 มื้อ!! นั้นก็เป็นเพราะวัตถุประสงค์หลักของผู้เลี้ยงปลาคาร์ปก็คือ ชอบให้ปลาตัวใหญ่ ล้ำๆ บึกๆ นั่นเอง ซึ่งวิธีที่เราจะเพิ่มน้ำหนักปลา จะทำได้โดยให้อาหารในปริมาณที่ไม่ได้เยอะ หรือ ให้ปริมาณที่พอดี แต่แบ่งย่อยออกเป็นหลายๆมื้อ โดยเว้นแต่ละมื้อ 1-2 ชม. นั่นเองครับ
.
-
ปลามังกร
ควรให้วันละ 1-2 มื้อ
ปกติในธรรมชาติของปลามังกรจะชอบกินแมลง กุ้ง หรือปลาขนาดเล็ก และสามารถอดอาหารได้เป็นเดือนๆ อีกด้วย! ทั้งนี้อาหารที่ให้ควรให้แต่พอเหมาะเนื่องจากอาหารสดบางอย่าง เช่น พวกแมลงจะมีโปรตีน และ ไขมัน สูงอาจจะส่งผลต่อสุขภาพปลาในระยะยาว คนที่เลี้ยงปลากลุ่มนี้ส่วนใหญ่ชอบให้ปลากินดุๆ นั่นจึงเป็นเหตุผลว่าทำไม ไม่ควรให้อาหารในปลากลุ่มนี้บ่อย นั่นเอง
Social Share
บทความล่าสุด
โรคเกล็ดพอง
ผู้ดูแลระบบ สูงสุด
1 มิ.ย. 2564 21:00
โรคตกเลือด
ผู้ดูแลระบบ สูงสุด
1 มิ.ย. 2564 21:00
โรคจุดขาว
ผู้ดูแลระบบ สูงสุด
1 มิ.ย. 2564 21:00
หน้าหลัก
บทความ
โรคจุดขาว
Heading
×